วันอาทิตย์ที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2557


ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์



เคสเป็นอุปกรณ์ที่ใ้ช้บรรจุชิ้นส่วนอุปกรณ์้ต่างๆ  ของเครื่องคอมพิวเตอร์




พาวเวอร์ซัพพลาย  เป็นอุปกรณ์หลักที่คอยจ่ายไฟให้กับชิ้นส่วนและอุปณ์ต่างๆทั้งหมดภายในเครื่อง





ฮาร์ดดิส เป็นที่บรรจุข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์ เก็บโปรแกรม และข้อมูลต่าง ๆ






แรม เป็นหน่วยความจำประเภทที่อ่าน/เขียน ข้อมูลลงไปได้ตลอดเวลา แต่ถ้าไฟดับหรือปิดเครื่อง ข้อมูลในหน่วยความจำจะหายหมดทันที




CD - DVD drive เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดี





เมนบอร์ด ศุนย์กลางของการเชื่อมต่อสำหรับอุปกรณ์ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์


เมาส์ ทำหน้าที่ในการชี้ตำแหน่ง และใช้เลือก  ไอคอนต่างๆ ที่อยู่บนหน้าจอภาพคอมพิวเตอร์



คีร์บอร์ด เหมือนเป็นสวิทช์อิเล็กทรอนิกส์โดยปกติ แล้วคีย์บอร์ดใช้สำหรับพิมพ์ตัวหนังสือ หรือตัวเลขเข้าไปยังโปรแกรมต่างๆ



หน้าจอ สามารถแสดง ผลได้ทั้งตัวหนังสือ ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว


การ์ดจอ ทำหน้าที่ส่งข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ไปแสดงผลยังจอภาพ



วันอาทิตย์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์


         หน่วยรับข้อมูลเข้า ( Input Unit )

   หน่วยรับข้อมูล คือ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับข้อมูลรับข้อมูลหรือคำสั่ง จากผู้ใช้เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น ตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ เป็นต้น โดยจะแปลงข้อมูลหรือคำสั่งนั้นให้อยู่ในรูปของสัญญาณไฟฟ้าที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ นำมาจัดเก็บที่หน่วยความจำหลัก และใช้ประมวลผลได้ อุปกรณ์หน่วยรับข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน มีดังนี้ 

แป้นพิมพ์ (keyboard) 

แป้นพิมพ์ไร้สาย 


แป้นพิมพ์แบบพกพา 

เมาส์ (Mouse) 

เมาส์แบบไร้สาย 


เมาส์แสง 

กล้องถ่ายวีดิโอดิจิตอล (digital video camera)

กล้องถ่ายภาพดิจิตอล  (digital camera)
สแกนเนอร์มือถือ 


สแกนเนอร์แบบสอดกระดาษ
สแกนเนอร์แบบแท่ง

 
  
เครื่องอ่านรหัสโซีอาร์ ( OCR )



หน่วยประมวลผลกลาง ( CPU )


   สมองหรือหัวใจของคอมพิวเตอร์ ประสิทธิภาพในการทำงานของคอมพิวเตอร์จะ
ขึ้นอยู่กับหน่วยประมวลผลกลางเป็นหลัก ฮาร์ดแวร์ที่สำคัญของคอมพิวเตอร์ คือ
ไมโครโพรเซสเซอร์

CPU

ประกอบด้วยส่วนใหญ่ ๆ 2 ส่วน คือ หน่วยคำนวณ และ หน่วยควบคุม

             ทำหน้าที่ควบคุมการทำงาน ควบคุมการเขียนอ่านข้อมูลระหว่างหน่วยความจำ

ของซีพียู ควบคุมกลไกการทำงาน ทั้งหมดของระบบ ควบคุมจังหวะเวลา โดยมี
สัญญาณนาฬิกา เป็นตัวกำหนดจังหวะการทำงาน 

             เป็นหน่วยที่มีหน้าที่นำเอาข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสองมาประมวลผลทาง

คณิตศาสตร์และตรรกะ เช่น การบวก การลบ การเปรียบเทียบ และ การสลับตัวเลข
 เป็นต้นการคำนวณทำได้เร็วตามจังหวะการควบคุมของหน่วยควบคุม


   


หน่วยความจำ  ( Main Memory Unit ) 





เป็นหน่วยจัดเก็บข้อมูลที่ทำงานได้รวดเร็วที่สุด ซึ่งสามารถจำแนกตามลักษณะ
การใช้งานได้ 2 ประเภท คือ
    1.หน่วยความจำหลัก (Main Memory) หรือเรียกว่า หน่วยความจำภายใน
 (Internal Memory) สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ - รอม (Read Only Memory - ROM) 
เป็นหน่วยความจำที่มีโปรแกรมหรือข้อมูลอยู่แล้วสามารถเรียกออกมาใช้งานได้แต่จะ
ไม่สามารถเขียนเพิ่มเติมได้และแม้ว่าจะไม่มีกระแสไฟฟ้าไปเลี้ยงให้แก่ระบบข้อมูล
ก็ไม่สูญหายไป 


  - แรม (Random Access Memory) เป็นหน่วยความจำที่สามารถเก็บข้อมูลได้เมื่อมีกระแสไฟฟ้า
หล่อเลี้ยงเท่านั้นเมื่อใดไม่มีกระแสไฟฟ้ามาเลี้ยงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำชนิดนี้จะหาย
ไปทันที

    
2. หน่วยความจำรอง (Second Memory) หรือหน่วยความจำภายนอก (External Memory)
 เป็นหน่วยความจำที่ต้องอาศัยสื่อบันทึกข้อมูลและอุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลชนิดต่างๆ ได้แก่
      2.1   ฮาร์ดดิสก์    (Hard Disk) เป็นฮาร์ดแวร์ที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ 
ทั้งโปรแกรมใช้งานต่างๆ ไฟล์เอกสาร รวมทั้งเป็นที่เก็บระบบปฏิบัติการที่เป็นโปรแกรม
ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยฃ




    2.2   ซีดี (Compact Disk - CD) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบดิจิทัล เป็นสื่อที่มีขนาดความจุสูง
 เหมาะสำหรับบันทึกข้อมูลแบบมัลติมีเดีย ซีดีรอมทำมาจากแผ่นพลาสติกกลมบางที่เคลือบ
ด้วยสารโพลีคาร์บอเนต (Poly Carbonate) ทำให้ผิวหน้าเป็นมันสะท้อนแสง โดยมีการบันทึกข้อมูล

เป็นสายเดียว (Single Track) มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 120 มิลลิเมตร ปัจจุบันมีซีดีอยู่หลาย
ประเภท ได้แก่ ซีดีเพลง (Audio CD) วีซีดี (Video CD - VCD)ซีดี-อาร์ (CD Recordable - CD-R) 
ซีดี-อาร์ดับบลิว (CD-Rewritable - CD-RW) และดีวีดี (Digital Video Disk - DVD)






แผ่นซีดี





หน่วยแสดงผล ( Output Unit )




     หน่วยแสดงผล คือ อุปกรณ์ที่แสดงผลลัพธ์โดยรับข้อมูลมาจากหน่วยประมวลแล้วนำมาแสดงผลในอุปกรณ์
ต่างๆ เมื่อได้ผลลัพธ์จากหน่วยประมวลผล จะแปลงผลลัพธ์จากสัญญาณไฟฟ้าของเครื่องคอมพิวเตอร์ 
ให้กลายเป็นรูปแบบที่มนุษย์เข้าใจ เช่น รูปภาพ ตัวอักษร เป็นต้น หน่วยแสดงผล 



 จอซีอาร์ที (CRT : Cathode Ray Tube monitor) 


จอแอลซีดี (LCD: Liquid crystal Display monitor) 


ลำโพง



เครื่องพิมพ์ฉีดหมึก (inkjet printer) 


เครื่องพิมพ์เลเซอร์ (Laser printer


วันอาทิตย์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ประวัติ





ชื่อ - สกุล    :    กาญธิดา  หยูคล้าย
ชื่อเล่น         :    กาญ
วันเกิด         :    วันจันทร์ ที่ 24  สิงหาคม  2541
วิชาที่ชอบ   :    วิชาภาษาไทย
สีทีชอบ       :    สีฟ้า สีเขียว
ที่อยู่            :    75  ม.7 ต.เคร็ง อ.ชะอวด จ.นครศรีธรรมราช  80180
นิสัยส่วนตัว :  ร่าเริง อารมณ์ดี 
คติประจำใจ    : เรียนเพื่อรู้ อยู่เพื่ออนาคต
อาชีพที่ใฝ่ฝัน :  คุณครู